Java

Logo
Java & OOP Title

logo: ชวนคุยจาวา part 1 : พี่นรินทร
เรามาเรียนรู้ภาษาจาวาร่วมกัน อย่างง่ายๆและค่อยเป็นค่อยไปกับพี่นรินทร ผู้เป็นอาจารย์สอนภาษาจาวาให้ผม เริ่มตั้งแต่พื้นฐาน การใช้เครื่องมือ (tools) ในการเขียนภาษาจาวาอย่างมีลำดับขั้นตอนที่ดีครับ...

logo: ชวนคุยจาวา part 2 : เส้นทางเดิน
เรียนจาวาแบบที่ผมซึ่งเป็นผู้เริ่มต้นมักสงสัย คำถามมากมายของมือใหม่

logo: ชวนคุยจาวา part 3 : Hello World
เครื่องมือที่ใช้เขียนจาวาสำหรับจาวามือใหม่เช่นผม

logo: ชวนคุยจาวา part 4 : คำว่า OOP
สิ่งที่อาจารย์ผมมักบอก จาวานั้นต้องเข้าใจความคิด OOP

logo: ชวนคุยจาวา part 5 : คำว่า Package
ทำความเข้าใจ package แรกนั้นผมคิดว่ามันไม่สำคัญเลยเออ

logo: ชวนคุยจาวา part 6 : คำถามของ protected modifier
เราใช้ protected กับคลาสได้ไหม? แล้ว protected ต่างจาก public อย่างไรใน package เดียวกัน?

logo: ชวนคุยจาวา part 7 (ยังไม่สมบูรณ์)
ชนิดข้อมูลพื้นฐาน คลาสและวิธีการใช้งาน

logo: ชวนคุยจาวา part 8 (ยังไม่สมบูรณ์)
มาประกาศคลาสเพื่อใช้เองกันเถอะ คิดๆๆ ออกแบบๆๆ เฮ้ย ก็ไม่ยากมาก

logo: ชวนคุยจาวา part 9 (ยังไม่สมบูรณ์)
คลาสกับ class diagram รูปแบบที่อธิบายด้วย UML

logo: ชวนคุยจาวา part 10 (ยังไม่สมบูรณ์)
คอนสตรัคเตอร์ การสืบทอด~การถ่ายทอด

logo: ชวนคุยจาวา part 11 (ยังไม่สมบูรณ์)
มาเลย if, if-else, nested if, switch-case, for, while, do-while เยอะแท้

logo: ชวนคุยจาวา part 12 (ยังไม่สมบูรณ์)
อาเรย์ อะไร อะไรนะ?


logo: ชวนคุยจาวา part 14-1 : มาสร้าง DocumentLocker กันเถอะ
ได้หยิบยืมหนังสือของรุ่นน้องมาอ่าน เป็นหนังสือเก่าแล้ว หลายคนชอบ หลายคนว่าซับซ้อน หลายคนไม่เห็นคุณค่าดราม่าไปต่างๆนานา แต่สำหรับผมที่ต้องการตัวอย่าง ขึ้นชื่อว่าเป็นตัวอย่างไม่ว่าจะดีหรือแย่ ก็ดีกว่าไม่มีเลย สำคัญคือมันแจ๋วมากครับ

logo: ชวนคุยจาวา part 14-2 : มาสร้าง DocumentLocker กันเถอะ
ต่อจาก part แรกที่ว่า หากจะให้เอกสารของเราสามารถใส่รหัสป้องกันเข้าไปด้วย ด้วยจาวาคลาสเท่าที่มีจะทำได้อย่างไร หนึ่งในหลายวิธีการที่ทำให้บรรลุเป้าหมายและเป็นที่ยอมรับ นั่นก็คือการใช้ decorator pattern



logo: Don’t use DAO
ไม่ใช้ DAO แต่ควรใช้ Repository แทน?


logo: ความคิดที่เป็น OOP กรณีตัวอย่างที่ 1
คลาสที่มีอยู่แล้วกับคลาสใหม่ที่เกิดขึ้น ออกแบบอย่างไรจึงจะเป็น OOP

1 ความคิดเห็น: