JavaScript

เสริมพลังปีศาจ HTML ให้แต่ละหน้าเว็บราวกับมีชีวิต
เขียนเกมง่ายๆด้วยภาษาจาวาสคริปต์

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 1
เล่นเว็บกันประจำใช่ไหม เคยเจอหน้าต่างเด้งขึ้นมาถามโน่นนี่นั่นใช่ไหม เคยอยากรู้ไหมว่ามันเด้งขึ้นมาได้อย่างไร บ้างก็เหมือนแกล้งให้กดไม่รู้จะกี่ครั้งกว่ามันจะยอมปิดลงไป ถ้าอยากรู้ ถ้าเคยพบเห็น มันนั้นอาจเขียนขึ้นโดยภาษาที่มีชื่อว่า จาวาสคริปต์ (JavaScript)...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 2
มาเขียน hello.html กันนะ : เมื่อได้รู้จักกับ JavaScript จาก part แรกที่ผ่านมา หากเพื่อนๆคันไม้คันมืออยากจะเขียนมันขึ้นมาเองแล้วล่ะก็ part ที่ 2 นี้จะตอบสนองความต้องการนั้นครับ...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 3
จะวางโค้ด JavaScript ที่ไหนดี? : ก็ให้คิดอย่างนี้ครับ ให้ส่วนที่เป็นการเรียกภาษา JavaScript จากที่อื่น (แหล่งอื่นๆที่ไม่ใช่เว็บของเรา) ไว้ ณ ส่วน head และให้ส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับโครงสร้าง (layout) ของหน้าเว็บ...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 4
รูปแบบของแท็ก script : ทุกวันนี้เราตามโลกหรือโลกตามเรา? แน่นอนเราต้องตามสิ่งที่ใหญ่กว่า คือเราตามโลก ดังนั้นหากโลกมีเทคโนโลยีใหม่ๆมาให้ใช้ เราก็ควรใช้ครับ...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 5
variable declaration and type : ตัวแปรก็คือที่ที่สำหรับเก็บของ เช่น กล่องใส่ดินสอ กล่องก็เป็นตัวแปร ส่วนดินสอก็เป็นของ หรือกระเป๋าใส่เงิน กระเป๋าก็เป็นตัวแปร ส่วนเงินก็เป็นสิ่งที่ถูกเก็บไว้ภายใน อาจฟังดูบ้าไปนิด อันที่จริงในทางคอมพิวเตอร์ ตัวแปรก็คือสิ่งที่ใช้อ้างอิงค่าหรือพื้นที่ที่ถูกกำหนดขึ้นในหน่วยความจำ...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 6-1
ชนิดของไทป์ (type) : ชนิดของตัวแปร หรือ ชนิดของไทป์ หรือไทป์ หรือ type ได้ยินคำไหนใน part นี้ก็ความหมายเดียวกันหมดนะ เอาล่ะ จาวาสคริปต์แบ่งชนิดของไทป์ออกเป็นสองกลุ่ม ได้แก่...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 6-2
ภาพอันเปลือยเปล่าของน้อง Primitive Type และ Reference Type : เพื่อนๆคงทราบว่าเราเขียนโปรแกรมล้อเลียนความจริง ดังนั้นจะพบเจอโค้ดโปรแกรมลักษณะไทป์ประเภท reference type อยู่บ่อยๆ ซึ่งพื้นฐานของมัน (ที่สุดของที่สุด) ก็คือ...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 7
Expressions กับการสร้างโปรแกรมเครื่องคิดเลขง่ายๆ : expression คืออะไรน่ะเหรอ? ถ้าจะให้เข้าใจคำนี้เพื่อนๆจะต้องรู้จักคำว่า statement เสียก่อน เจ้า statement ก็คือโค้ดต่างๆที่เพื่อนๆเขียนขึ้น โดยมากมักจะจบในหนึ่งบรรทัดหรือจวบกระทั่งปิดด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon) ตัวอย่างเช่น...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 8-1
Condition Statement กับคำสั่ง if-else-if statement : ทุกวันนี้เรามีถนนสำหรับให้รถวิ่ง ย่อมมีทั้งทางตรง ทางโค้งและทางแยก condition statement ก็คือทางแยกของถนนที่ว่าจะเลี้ยวซ้ายหรือขวาหรือตรงไปในทางโปรแกรมมิ่งนั่นเอง...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 8-2
Condition Statement กับคำสั่ง switch statement : จาก part ที่ 8-1 เรื่องของ if-else-if statement คราวนี้เพื่อนๆจะได้รู้จักกับ switch statement ซึ่งมีลักษณะการทำงานแทบไม่ต่างจาก if-else-if statement เลย โดยมีโครงสร้างดังนี้...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 9
ควบคุม Keyboard ด้วย JavaScript : เอางี้ รู้จักพวกชอบแอบฟังแอบดูชาวบ้านไหม ใครกำลังดัง ใครภาพหลุด ใครตบกับใคร ใครแย่งแฟนใคร ต้าย! นั่นแหละพวกชอบนินทาชาวบ้านก็ด้วย คือฟังแล้วเอามาเล่าต่อ ขยายเรื่องจริงสร้างเรื่องเท็จสนุกสนานกันวุ่นวาย...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 10
Iteration Statements เหล่าคำสั่งทำซ้ำ : เพื่อนๆเคยใช้ if เคยใช้ switch มาแล้ว ตอนนี้รู้แล้วว่าพวกมันคือทางเลือกเพื่อกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดใช่ไหม จะทำจริงหรือทำเท็จควบคุมสมใจอยาก บัดนี้ทางเลือกเหล่านั้นอาจไม่เพียงพอครับ...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 11
การจัดการ errors ด้วย try/catch : ขณะที่ลูกขับมอไซค์อยู่นั้น ปรากฏว่าขับไปชนหมา เอ๋ง!!! รถล้มได้รับบาดเจ็บถึงขั้นต้องหามส่งอนามัยหมู่บ้าน (อุ้มหมาไปรักษา เฮ้ยไม่ใช่)...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 12-1
Arrays ที่น่าพิสมัย : อาร์เรย์ก็คือคอลเลคชันของ elements ที่แต่ละ element เอาไว้เก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน แต่จาวาสคริปต์ใจดีกว่านั้น คือให้อาร์เรย์ชื่อใดๆสามารถเก็บข้อมูลต่างชนิดกันได้...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 12-2
Arrays กับความสามารถของมัน : เพื่อนๆควรทราบว่าเราสามารถสร้างอาร์เรย์ว่างได้ หรือก็คืออาร์เรย์ที่มีขนาดเป็นศูนย์ เรายังสามารถจองพื้นที่หรือจองขนาดของอาร์เรย์ได้ด้วย...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 12-3
Arrays กับฟังก์ชันของมัน (จบตอนอาร์เรย์) : แนะนำฟังก์ชัน join, reverse, sort และ concat

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 13
ทบทวนเรื่องการประกาศและขอบเขตการใช้งานตัวแปร : ในฟังก์ชันใดๆของจาวาสคริปต์ ตัวแปร local ที่ถูกประกาศจะเก็บไว้ในหน่วยความจำชั่วคราว เมื่อลำดับการประกาศตัวแปรนั้นไม่ถูกต้อง ค่าที่ได้จึงเป็น undefined ไม่ใช่ undeclared error...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 14-1
ฟังก์ชันหรือก็คือค่าของตัวแปรในรูปแบบฟังก์ชัน : ฟังก์ชันคือโค้ดที่เขียนด้วยอัลกอริทึมเดียวกัน (เขียนโค้ดเหมือนกัน) เมื่อเราแยกโค้ดเป็นฟังก์ชันต่างๆ ก็จะทำให้แก้ไขโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อแก้ไขเพียงจุดเดียวก็จะทำให้จุดอื่นๆที่เรียกใช้ฟังก์ชันเดียวกันนี้ได้รับผลไปด้วย...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 14-2
ฟังก์ชันก็คือค่าของตัวแปร : เราเรียกค่าของตัวแปรที่ถูกกำหนดให้เป็นฟังก์ชันว่า Function Literal โดยพิสูจน์ได้จาก...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 15-1
ออบเจ็กต์ : ออบเจ็กต์คือกลุ่มของพร็อพเพอร์ตี้ (properties) หรือก็คือคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกัน...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 15-2
คลาส : จาวาสคริปต์เป็นภาษาเชิงวัตถุแบบ Prototype-based เธอมีฟังก์ชันรูปแบบหนึ่งที่เธอเรียกว่า Constructor Function เป็นตัวกำหนดโครงสร้างของออบเจ็กต์ มันเสมือนเป็นคลาสหรือเรียกว่าเทมเพลต...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 15-3
Prototype กับการสืบทอด : ว่ากันด้วยพร็อพเพอร์ตี้ที่ชื่อ prototype ซึ่งมีชนิดเป็น Prototype ฉะนั้นทุกคลาสที่ถูกสร้างขึ้นในภาษาจาวาสคริปต์ จึงเป็นลูก (is a sub-class) ของคลาสชื่อ Object ครับ...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 16-1
อะไรคือ DOM แล้วมันเกี่ยวข้องกับ JavaScript อย่างไร?...

ภาษา JavaScript ฉบับผู้เริ่มต้น part 16-2
การเข้าถึงแท็กก็ว่า document.getElementsByTagName และ document.getElementById...

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น